20/03/2566
เชียงใหม่
นครสวรรค์
ขอนแก่น
อุบลราชธานี
สงขลา
สุราษฎร์ธานี
ภูเก็ต
สัญลักษณ์
อากาศหนาวเย็น
อากาศร้อน
ฝนตกหนัก
พายุฤดูร้อน
คำอธิบายระดับความรุนแรง
 
  สีขาว  ไม่มีข้อมูล
 
  สีเขียว  ปลอดภัย
 
  สีเหลือง  ลักษณะอากาศก่อให้เกิดอันตราย
 
  สีส้ม  มีอันตรายจากลักษณะอากาศ
 
  สีแดง  มีอันตรายมากจากลักษณะอากาศ
แบบสำรวจความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจ
เพื่อพัฒนาเว็บไซต์และการให้บริการข้อมูลได้ตรงความต้องการผู้ใช้งานยิ่งขึ้น กรุณาให้ข้อมูลแบบสำรวจความพึงพอใจและความไม่พึงพอใจประจำปี ที่นี่
กราฟิกประจำวันที่ 20 มีนาคม 2566
สื่อวีดีทัศน์
สาเหตุฝนตกหนักบริเวณกรุงเทพมหานคร
ช่วงวันที่ 3-7 มิ.ย. และ 9-14 มิ.ย. 56
การเริ่มต้นและการสิ้นสุดฤดูฝนของประเทศไทย
สำนักพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา
สำนักพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา
สำนักพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา
พยากรณ์อากาศ พายุฤดูร้อนช่วงสงกรานต์ 2556
สำนักพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา
ข้อมูลน่าสนใจ

ฤดูกาลของโลก
แหล่งพลังงานความร้อนที่สำคัญที่โลกได้รับคือดวงอาทิตย์ ซึ่งพลังงานความร้อนที่โลกได้รับนี้ ก่อให้เกิดกระบวนการต่าง ๆ ทางบรรยากาศของโลกมากมาย รวมตลอดถึงการเกิดฤดูกาลบนผิวพื้นโลกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากแกนโลกเอียงจากแนวดิ่ง 23 องศา ตลอดเวลาที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์นั่นคือ ขณะที่โลกเคลื่อนที่ไปก็เอียงไปด้วย โดยจะหันขั้วโลกเหนือและใต้เข้าหาดวงอาทิตย์สลับกัน ทำให้พลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์ที่ตกลงบนผิวพื้นโลกในรอบปี ในแต่ละพื้นที่ไม่เท่าเทียมกัน ขั้วโลกที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์จะได้รับพลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์มากกว่า จะเป็นฤดูร้อน ส่วนขั้วโลกที่หันออกจากดวงอาทิตย์ จะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์น้อยกว่า จะเป็นฤดูหนาว อ่านต่อ

ลิงค์ข้อมูลอื่นๆ จากกรมอุตุนิยมวิทยา